Working languages:
English to Thai

purachatt
Clear & Sincere

Local time: 04:52 +07 (GMT+7)

Native in: Thai Native in Thai
Feedback from
clients and colleagues

on Willingness to Work Again info

This service provider is not currently displaying positive review entries publicly.

No feedback collected
Account type Freelance translator and/or interpreter
Data security Created by Evelio Clavel-Rosales This person has a SecurePRO™ card. Because this person is not a ProZ.com Plus subscriber, to view his or her SecurePRO™ card you must be a ProZ.com Business member or Plus subscriber.
Affiliations This person is not affiliated with any business or Blue Board record at ProZ.com.
Services Translation, Interpreting, Editing/proofreading, Voiceover (dubbing), MT post-editing, Transcription
Expertise
Specializes in:
AgricultureArchaeology
Advertising / Public RelationsMusic

Rates
English to Thai - Rates: 0.11 - 0.20 USD per word / 25 - 32 USD per hour

Payment methods accepted Wire transfer
Portfolio Sample translations submitted: 1
English to Thai: Carlos Núñez "the Jimi Hendrix of the bagpipe"
General field: Art/Literary
Detailed field: Music
Source text - English
00:05
Carlos Núñez has made a name for himself with performances like these - AND a nickname: "the Jimi Hendrix of the bagpipe."

00:15 Music (Bagpipe)

00:20
Galicia in northwestern Spain is the place Núñez calls home. But musically, he's kept charting new ground, and that's inspired his record company to give him another nickname: "the Christopher Columbus of world music."

SOT (OFF beginnend) Carlos Núñez

00:35
"The land ends here in Galicia, and some see it as the edge of the world. When the ancient Romans arrived here, they thought the other side of the sea was filled with mysteries, unknown worlds and even monsters."

00:52
Núñez kicks off his world tours in Galicia, with his bagpipe and flute in tow. He's succeeded in blending Celtic folk, flamenco, pop and classical styles. Núñez is a master of technique, but his music is also infused with emotion.

01:08 Musik freistehend

SOT (OFF beginnend) Carlos Núñez

01:22
"We're the Celts of the south - the Celts with passion."

01:32
Pathos is no problem for Núñez. He's even taken on one of the most iconic compositions in Spanish music: the adagio from the Concierto de Aranjuez by Joaquín Rodrigo.

Free

SOT Carlos Núñez

01:44
"I started playing the bagpipe when I was eight. The first few times I couldn't do it, but I had to keep with it because I had a big role model. My great grandfather played the tuba in a firemen's brigade band. He moved to Brazil in 1904 to seek his fortune. And I followed him there!"

02:14
The link between the bagpipe and samba beats isn't exactly obvious - but in Brazil, Núñez has found more than just a way to remember his great-grandfather. While gathering inspiration for his new album, he learned that the country is no stranger to Celtic influence.

SOT Carlos Núñez

02:35
"The typical things associated with Brazil are the copacabana, ipanema, football - and of course, samba. But there's another, hidden Brazil - it's shaped by European and Celtic influences - and that's the where the bagpipe meets Brazil."

03:00
And so Núñez embarked on a musical experiment - bringing together the bagpipe with Brazilian rhythms from samba and Axé music. Some find the blend a bit too exotic - it's something many people haven't heard combined before.

03:16
Back in Galicia, Spain. Núñez says this cathedral holds proof of the musical exchange between the two countries, when Brazil was colonized by Portugal 600 years ago. Instruments dating back to the Middle Ages that have no place in modern European music are still played in Brazil today.

03:34
That means the native people of Brazil became familiar with the bagpipe early on. The Portuguese brought along the Gaita from Galicia which at the time belonged to Portugal. But the cultural exchange didn't end there:

SOT Carlos Núñez

03:49
"German music traditions also made their way to Brazil. Take the Baroque compositions of Johann Sebastian Bach. His father played the Gaita, the bagpipe. And that ended up in Brazil when the immigrants from Galicia arrived."

04:09
Meanwhile, Brazil has welcomed Carlos Núñez with open arms. The jam sessions he plays with local musicians have confirmed his suspicions: Celtic melodies are in Brazilians' blood, too. For Núñez, it's been a special trip:

SOT Carlos Núñez

04:34
"Celtic music has power over people - a very magical power that speaks to their connections with the earth, their roots in the elements and nature. The old Celts realized the significance of nature and drew their inner strength from it. And that shaped their music."

05:00
Carlos Núñez: A master bagpipe player, showman and storyteller. The man behind the music.

05:11 Music

05:20
For now, Núñez is taking his new album "Alborado Do Brasil" on tour in Europe. The question is: How will the musician's special blend of Celtic and Brazilian influence fare with European audiences?

05:29 Music

05:34
Regardless, it seems his music has certainly caused a bit of movement on the OTHER side of the Atlantic.
Translation - Thai
เมื่อพูดถึงเรื่องแบ็คไพพ์ คนส่วนใหญ่มักนึกถึงสก๊อตแลนด์ เสียงเพลงจากปี่สก๊อตทำให้นึกดินแดนที่ราบสูงของสก็อตแลนด์ แต่ก็ยังมีบางประเทศที่มีเครื่องดนตรีคล้ายคลึงกันนี้ และมีชื่อเรียกของตนเอง เช่น สเปน มีเครื่องดนตรีชื่อ กะลิเชี่ยน ไกอิทา ซึ่งมีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 นักดนตรีอย่าง คาร์ลอส นูเนซ ใช้เครื่องดนตรีชนิดนี้เพื่อปลุกเพลงพื้นบ้านเคลติกของชาวสเปนให้ผู้คนได้ชื่นชม ปัจจุบันนี้เขาขายผลงานเพลงได้กว่า 1 ล้านชุดในแนวเพลงเคลติกสแปนิช และเวิล์ดมิวสิค เมื่อไม่นานนี้เขาได้ไปเยือนบราซิลด้วย
คาร์ลอส นูเนซ ได้สร้างชื่อเสียงให้กับตัวเองจากการแสดงที่เร้าร้อนแบบนี้ สมญานามของเขาคือ จิมิ เฮนดริกซ์แห่งปี่แบ็คไพพ์
กะลิเซีย อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของสเปน คือถิ่นกำเนิดของนูเนซ และในแง่ดนตรี เขาได้สร้างผลงานใหม่ๆจากที่นี่ บริษัทแผ่นเสียงของเขาตั้งสมญาให้เขาอีกด้วยว่า คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสแห่งเวิลด์มิวสิค
นูเนซ กล่าวว่า แผ่นดินสิ้นสุดลงที่นี่ ในกะลิเซีย บางคนมองว่า ที่นี่คือสุดขอบโลก สมัยที่ชาวโรมันโบราณมาถึงที่นี่ พวกเขาคิดว่า อีกฟากหนึ่งของทะเลเต็มไปด้วยความลึกลับ เป็นโลกเร้นลับและมีสัตว์ประหลาด
นูเนซเริ่มต้นการทัวร์รอบโลกด้วยการแสดงที่กะลิเซีย ด้วยความสามารถอันเอกอุในการเล่นแบ็คไพพ์ เขาประสบความสำเร็จในการผสมผสานแนวดนตรี เคลติก โฟล์ค, ฟลามิงโก้, ป๊อป และดนตรีคลาสสิก นูเนซเป็นเจ้าแห่งเทคนิค แต่ดนตรีของเขาเต็มไปด้วยอารมณ์ความรู้สึก
นูเนซกล่าวว่า พวกเขาคือชนชาวเคลต์แห่งดินแดนทางใต้ เป็นชาวเคลต์ที่เต็มไปด้วยแรงปรารถนา
การกระตุ้นอารมณ์ความรู้สึกด้วยบทเพลงไม่เป็นปัญหาสำหรับนูเนซ เขาได้นำเอาองค์ประกอบหนึ่งที่โดดเด่นที่สุดของดนตรีสเปนมาประยุกต์ เช่น จังหวะอะดาจิโอ จาก คอนซิเออร์โต เดอ อารันเฮซ โดย จัวควิน โรดริโก้
นูเนซบอกว่า เขาเริ่มหัดเล่นแบ็คไพพ์ตอนอายุ 8 ขวบ ครั้งแรกที่เป่า มันไม่มีเสียงออกมา แต่เขาก็พยายามอยู่อย่างนั้น เพราะเขามีต้นแบบที่เขาชื่นชอบ คือ ทวดของเขา ที่เล่น ทูบ้าในวงดนตรีของหน่วยดับเพลิง เขาย้ายไปอยู่ที่บราซิลในปี 1904 เพื่อแสวงโชค ผมก็ตามเขาไปด้วย
จุดเชื่อมโยงระหว่างแบ็คไพพ์กับจังหวะแซมบ้าไม่ค่อยชัดเจนนัก แต่ในบราซิล นูเนซไม่เพียงแต่ได้รำลึกถึงทวดของเขา แต่ยังหาแรงบันดาลใจสำหรับอัลบั้มชุดใหม่ของเขา นูเนซพบว่า ชาวบราซิลคุ้นเคยกับดนตรีเคลติกดี
นูเนซบอกว่า โดยทั่วไปเวลาพูดถึงบราซิล มักจะกล่าวถึง โคปาคาบาน่า อิปาเนม่า ฟุตบอล และแซมบ้า แต่อีกสิ่งหนึ่งที่ซ่อนอยู่ในบราซิลนั่นคือ ดนตรีที่ได้รับอิทธิพลจากยุโรปและชาวเคลต์ นั่นคือจุดเชื่อมแบ็คไพพ์กับบราซิล
นูเนซจึงทดลองทำดนตรีอย่างหนึ่ง โดยนำเอาแบ็คไพพ์มาเล่นกับจังหวะของบราซิล อย่าง แซมบ้าและแอคเซ่
บางคนอาจพบว่า การผสมผสานดนตรีแบบนี้ ทำให้เกิดความรู้สึกแปร่งเกินไป และไม่เคยได้ยินการผสมผสานดนตรีแบบนี้มาก่อน
กลับไปที่กะลิเซีย ประเทศสเปน นูเนซ บอกว่า โบสถ์แห่งนี้คือสิ่งพิสูจน์ว่า มีการแลกเปลี่ยนดนตรีกันระหว่างสองประเทศ ช่วงที่บราซิลตกเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสเมื่อ 600 ปีก่อน เครื่องดนตรีเหล่านี้ในยุคกลาง กลับถูกละเลยจากดนตรียุคใหม่ของยุโรป แต่ที่บราซิล เครื่องดนตรีพวกนั้นยังคงมีการเล่นกันอยู่
นั่นหมายความว่า ชาวบราซิลคุ้นเคยกับแบ็คไพพ์มาเนิ่นนานแล้ว ชาวโปรตุเกสได้นำเครื่องดนตรี ไกอิทาจากดินแดนกะลิเซีย ซึ่งตอนนั้นอยู่ในการปกครองของโปรตุเกส การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจึงเกิดขึ้น
นูเนซกล่าวว่า ดนตรีพื้นบ้านของเยอรมันแพร่ไปยังบราซิลเช่นกัน บทเพลงยุคบาโร๊คของโยฮัน เซบาสเตียน บ๊าค ก็รวมอยู่ด้วย พ่อของบ๊าคเล่นแบ็คไพพ์ ไกอิทาด้วย มันจึงไปอยู่ที่บราซิล เมื่อชาวกะลิเซียอพยพไปที่นั่น
ขณะเดียวกัน ชาวบราซิลต้อนรับคาร์ลอส นูเนซอย่างอบอุ่น การได้ร่วมแจมดนตรีกับนักดนตรีท้องถิ่นทำให้ความสงสัยของเขาได้รับการยืนยันหนักแน่นขึ้น เมโลดี้เพลงเคลติกอยู่ในสายเลือดของชาวบราซิลด้วย
สำหรับนูเนซ นี่คือการเดินทางที่พิเศษสุด
นูเนซกล่าวว่า ดนตรีเคลติกมีพลังเหนือผู้คน เป็นมนต์วิเศษที่เชื่อมร้อยคนกับแผ่นดิน เพราะรากเหง้าของดนตรีมาจากธรรมชาติ ชนชาวเคลต์โบราณให้ความสำคัญกับธรรมชาติมาก และดึงเอาพลังจากธรรมชาติออกมา และดนตรีจึงพัฒนาจากตรงนั้น
คาร์ลอส นูเนซ เป็นทั้งนักเล่นแบ็คไพพ์ชั้นนำของโลก นักเล่าเรื่องราว และผู้อยู่เบื้องหลังพัฒนาการดนตรี
ขณะนี้ นูเนซได้ออกผลงานชุดใหม่ชื่อว่า อัลโบราดา โด บราซิล และกำลังตระเวณแสดงในยุโรป คำถามอยู่ที่ว่า การผสมผสานที่พิเศษระหว่างดนตรีเคลติกกับดนตรีบราซิลจะตรึงใจผู้ชมชาวยุโรปได้มากน้อยแค่ไหน
อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนดนตรีของเขาได้สร้างความเคลื่อนไหวในอีกฟากฝั่งของมหาสมุทรแอตแลนติกบ้างแล้ว

Translation education Bachelor's degree - Thammasat University , majoring English
Experience Years of experience: 36. Registered at ProZ.com: Jun 2011.
ProZ.com Certified PRO certificate(s) N/A
Credentials N/A
Memberships N/A
Software Microsoft Excel, Microsoft Word
Bio
I work in the filed of journalism since graduation. My job is translation and I love it and make a living out of it for more than 20 years but I still learn about the usage of English language as well as my mother tongue language, Thai. I translated news, features, essays, documentaries, TV series, novels, advertisements, technical manuals, thesis, meeting reports, computer programs, etc. This is an opportunity for me to use my experiece to help people.


Profile last updated
Aug 5, 2020



More translators and interpreters: English to Thai   More language pairs