Member since Apr '24

Working languages:
English to Karen
Karen to English
Thai to English
Burmese to English
English to Burmese

Phanom Raksaphanaphai
Bachelor Degree in Science at AIU

Maeramart, Tak, Thailand
Local time: 20:33 +07 (GMT+7)

Native in: Karen Native in Karen
  • Send message through ProZ.com
Feedback from
clients and colleagues

on Willingness to Work Again info
1 positive review
(1 unidentified)

227 ratings (4.74 avg. rating)

 Your feedback
Account type Freelance translator and/or interpreter
Data security Created by Evelio Clavel-Rosales This person has a SecurePRO™ card. Because this person is not a ProZ.com Plus subscriber, to view his or her SecurePRO™ card you must be a ProZ.com Business member or Plus subscriber.
Affiliations This person is not affiliated with any business or Blue Board record at ProZ.com.
Services Copywriting, Editing/proofreading, Interpreting, Translation
Expertise
Specializes in:
LinguisticsBiology (-tech,-chem,micro-)
Chemistry; Chem Sci/EngEducation / Pedagogy
Medical (general)
Volunteer / Pro-bono work Open to considering volunteer work for registered non-profit organizations
Rates

Payment methods accepted Send a payment via ProZ*Pay
Portfolio Sample translations submitted: 1
Thai to English: The Comparing of Demographic Profile with Obstacles and Successfulness of Using English for Communication Skills in the Nursing Profession of Nursing Students in Private University, Saraburi
Source text - Thai
บทนำ (Introduction)
จากรายงานประจำปี 2561 ของสำนักงานจัดอันดับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ หรือ Education Frist (EF) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่สวิตเซอร์แลนด์ ระบุว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 64 จาก 88 ประเทศทั่วโลกที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก และได้คะแนนเพียง 48.54 จาก 100 คะแนน และเมื่อเปรียบเทียบในประเทศในอาเซียน ประเทศไทยอยู่อันดับ 6 จาก 8 ประเทศในอาเซียน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปี 2542 ได้เสนอการปฏิรูปการเรียนการสอนโดยให้เน้นการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร (Communicative language teaching) ซึ่งการเรียนภาษาอังกฤษของไทยนั้นเน้นที่ความถูกต้องและความจำมากกว่าการสื่อสาร ทำให้นักเรียนไทยส่วนใหญ่ไม่สามารถสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Wikipedia, 2018). ในปี 2558 ประเทศไทยได้ร่วมลงนามกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations: ASEAN) เพื่อเปิดเขตการค้าเสรีในภูมิภาครวมถึงการเคลื่อนย้ายแรงงานได้อย่างเสรี ใน 8 สาขา ประกอบด้วย แพทย์ ทันตกรรม พยาบาล วิศวกรรม สถาปัตยกรรม นักสำรวจ บัญชีและวิชาชีพด้านการโรงแรมและการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าท้าทายเพราะแต่ละประเทศมาตรฐานทางด้านการศึกษาที่แตกต่างกัน (Asian Economic Community, 2018) จากการแข่งขันที่เกิดขึ้นทำให้เห็นว่านักศึกษาในประเทศไทยยังเสียเปรียบเนื่องจากทักษะทางภาษาอังกฤษด้อยกว่านักศึกษาที่มาจากประเทศอื่น ๆ
จากการศึกษาของ ณัฎฐนรี ฤทธิรัตน์ (2556) พบว่าความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และบัญชี ยังอยู่ในระดับที่ต้องปรับปรุง ส่วนใหญ่นักศึกษาตอบไม่ตรงคำถามออกเสียงผิดและผิดหลักไวยากรณ์ (ณัฎฐนรี ฤทธิรัตน์, 2556) นอกจากนี้จากรายงานการวิจัยของสุภลักษณ์ ธานีรัตน์ กมลรัตน์ เทอร์เนอร์ และสุจิตรา วิเชียรรัตน์ (2553) ศึกษาเรื่อง การติดตามสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษของบัณฑิตพยาบาลจบใหม่จากวิทยาลัยบรมราชชนนี พบว่าสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษต่ำสุดเมื่อเทียบกับสมรรถนะด้านอื่นๆ (สุภลักษณ์ ธานีรัตน์ และคณะ, 2553) ดังนั้นนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย โดยเฉพาะ 8 สาชาที่ระบุนั้น จำเป็นต้องมีการพัฒนาทักษะทางด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อสามารถแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนให้สูงยิ่งขึ้น
ที่ผ่านมานักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์มีการเรียนภาษาอังกฤษในหลักสูตร 5 รายวิชา (ภาษาอังกฤษทั่วไป 3 วิชาและทางการพยาบาล 2 วิชา) แต่นักศึกษาส่วนใหญ่ยังคงไม่กล้าใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและกลัวการสื่อสารภาษาอังกฤษกับคนอื่นทั้งกับต่างชาติและคนไทย ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับอุปสรรค์และความสำเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชน จังหวัดสระบุรี ซึ่งพยาบาลเป็นสาขาวิชาชีพที่ต้องใช้การสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษในยุคศตวรรษที่ 21 นี้ในการทำงานเป็นหลักและยิ่งไปกว่านั้นต้องทำงานกับชีวิตมนุษย์ ดังนั้นทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษเป็นสิ่งสำคัญในปัจจุบันที่มีประชาคมอาเซียนเข้ามา ผลการศึกษาจะนำมาซึ่งแนวทางในการวางแผนและพัฒนาการเรียนการสอนให้นักศึกษาประสบความสำเร็จในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพต่อไป

วัตถุประสงค์และสมมุติฐานของงานวิจัย (Objective and Hypothesis)
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาระดับของอุปสรรคในด้านต่างๆ และความสำเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชน จังหวัดสระบุรี
เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของอุปสรรคและความสำเร็จในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชน จังหวัดสระบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล
สมมุติฐาน
เพศ อายุและผลการเรียนของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชน จังหวัดสระบุรีที่แตกต่างกันมีอุปสรรคและความสำเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารที่แตกต่างกัน

วิธีการทำวิจัย (Method)
เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนาและเชิงสำรวจ (Descriptive & Survey research) โดยประชากรที่จะใช้ในการศึกษาคือ นักศึกษาพยาบาลที่ผ่านการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางการพยาบาล ปีการศึกษา 2561 จำนวน 92 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง100% (purposive sampling) สถานที่ทำวิจัย มหาวิทยาลัยเอกชน จังหวัดสระบุรี
ด้านจริยธรรมการวิจัยเพื่อปกป้องสิทธิและความลับผู้เข้าร่วมวิจัย ทางผู้วิจัยได้ขออนุมัติพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์จากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของมหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิก ชี้แจงให้กลุ่มตัวอย่างรับทราบวัตถุประสงค์การวิจัยและให้อิสระในการตัดสินใจร่วมการวิจัย และเปิดโอกาสให้ซักถามจนเข้าใจ สามารถบอกเลิกการเข้าร่วมวิจัยได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องระบุเหตุผล และจะไม่มีผลกระทบใดๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง เนื่องจากไม่มีการระบุชื่อหรือรหัสประจำตัวนักศึกษา ผลงานวิจัยจะนำเสนอในภาพรวมโดยใช้ในทางวิชาการเท่านั้น
เครื่องมือได้ดัดแปลงมาจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยแบบสอบถามมี 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ตอนที่ 2 อุปสรรคในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จำนวน 15 ข้อ โดยแบ่งเป็นด้านผู้เรียน ผู้สอน และสถาบันการศึกษา ลักษณะคำตอบเป็นแบบมาตรประมาณค่า (rating scale) 5 อันดับ
ตอนที่ 3 ความสำเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จำนวน 12 ข้อลักษณะคำตอบเป็นแบบมาตรประมาณค่า (rating scale) 5 อันดับ
การแบ่งช่วงคะแนนสำหรับค่าเฉลี่ยในหัวข้อคำถามนั้นแบ่งออกเป็น 5 ช่วงคะแนน (ประคอง กรรณสูตร, 2542) โดยมีการเกณฑ์การแปลคะแนนตามตารางที่ 1 ดังนี้



Table 1: Level of decision
Score Range Meaning
4.21 - 5.00 มากที่สุด
3.41 - 4.20 มาก
2.61 - 3.40 ปานกลาง
1.81 - 2.60 น้อย
1.00 – 1.80 น้อยที่สุด

วิธีการเตรียมตัวและการเก็บข้อมูล
ทดสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) ของเครื่องมือ ผู้วิจัยนำแบบสอบถามที่ดัดแปลงจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ความสอดคล้องของเนื้อหา ภาษา ข้อความ หลังจากนั้นนำมาหา CVI และนำไปปรับตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิแนะนำ การทดสอบความเที่ยง (Content reliability) นำแบบสอบถามไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันจำนวน 30 คน คือ นักศึกษาเอกภาษาอังกฤษ โปรแกรมไทยที่ได้ผ่านการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารมาแล้ว เพื่อนำมาหาค่าความเที่ยงแบบอัลฟ่า (Alpha-reliability Coefficient) ทั้ง 30 ชุดและภาพรวมของแบบสอบถามต้องมีค่าไม่ต่ำกว่า 0.7 เก็บข้อมูลเมื่อได้ครบตามจำนวนแล้ว นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติซึ่งประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแตกต่างด้วย One-Way ANOVA

Result and Discussion
ผลการวิจัยแสดงตามตารางดังต่อไปนี้
Table 2: ข้อมูลทั่วไป (Demographic profile)
ข้อมูลทั่วไป n %
เพศ
หญิง 81 88.0
ชาย 11 12.0
อายุ
18 – 19 ปี 4 4.34
20 ปีขึ้นไป 88 95.6
ผลการเรียน
A 20 21.7
B+ 20 21.7
B 16 17.2
C 18 19.5
D+ และ D 7 7.6

จากตารางที่ 2 พบว่า เพศชายมีจำนวนร้อยละ 12 และเพศหญิงมีจำนวนร้อยละ 88 และอายุอยู่ในช่วง 18-19 ปี ร้อยละ 4.34 และอายุ 20 ปีขึ้นไป ร้อยละ 95.6 ผู้ที่ได้เกรดเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษมากที่สุดอยู่ในระดับเกรด A และ B+ ร้อยละ 21.7 เท่ากัน และผู้ที่ได้เกรดเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษน้อยที่สุดอยู่ในระดับ D+ และต่ำกว่า ร้อยละ 7.6 ความสามารถในการสื่อสารอยู่ในระดับปานกลางมีจำนวนมากที่สุด ร้อยละ 48.9 และระดับดีมากมีจำนวนน้อยที่สุด ร้อยละ 3.3

Table 3 อุปสรรคและความสำเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสาร
Mean S.D. Level
ด้านผู้เรียน 3.55 .699 มาก
ด้านผู้สอน 2.98 .855 ปานกลาง
ด้านสถาบันการศึกษา 3.20 .747 ปานกลาง
ความสำเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษ 4.03 .374 มาก

จากตารางที่ 3 อุปสรรคในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางด้านผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมีอุปสรรคด้านตัวผู้เรียนเองต่อการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในระดับมาก (x ̅ = 3.55) โดยผู้เรียนเจออุปสรรคในหัวข้อเรื่อง กังวลว่าจะใช้ไวยากรณ์ผิด ประหม่าและเขินอายเมื่อต้องสื่อสารภาษาอังกฤษ ออกเสียงไม่ชัดเจนทำให้ผู้สนทนาไม่เข้าใจ ใช้เวลาคิดเป็นภาษาไทยและแปลเป็นภาษาอังกฤษก่อนจึงจะสื่อสาร และขาดแรงสนับสนุนและแรงจูงใจในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อยู่ในระดับมาก ส่วนอุปสรรคจากด้านผู้สอนและด้านสถาบันการศึกษานั้นพบว่าอยู่ในระดับปานกลาง (x ̅ = 2.98 และ 3.20 ตามลำดับ) ส่วนความสำเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารนั้นอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 4.03) โดยพบว่าหัวข้อทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษช่วยทำให้กล้าแสดงออก ช่วยในการประกอบวิชาชีพในอนาคตได้ เป็นทักษะที่ฝึกฝนเรียนรู้ได้ไม่ยาก ช่วยเพิ่มโอกาสในวิชาชีพมากขึ้น มีประโยชน์กับตนเองและคนรอบข้างและช่วยพัฒนาประเทศชาติ อยู่ในระดับมากที่สุด

1. ผลการเปรียบเทียบระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านสถาบันการศึกษา และความสำเร็จ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล
1.1 เพศ
จากการศึกษาระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านสถาบันการศึกษา และความสำเร็จในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชน จังหวัดสระบุรี จำแนกตามเพศของนักศึกษา โดยการทดสอบแบบ t-test พบว่าเพศที่แตกต่างกัน มีระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียน ด้านสอน ด้านสถาบันการศึกษา และความสำเร็จที่ไม่แตกต่างกัน ดังแสดงในตารางที่ 4

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านสถาบันการศึกษา และความสำเร็จในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล จำแนกตามเพศ
เพศหญิง (n=81) เพศชาย (n=11) t P
¯X S.D. ¯X S.D.
ด้านผู้เรียน 3.59 .69 3.34 .78 .037 .34
ด้านผู้สอน 2.99 .86 3.00 .88 .036 .97
ด้านสถาบันการศึกษา 3.20 .76 3.25 .71 .273 .84
ด้านความสำเร็จ 4.01 .35 4.25 .50 .294 .15

1.2 อายุ
จากการศึกษาระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านสถาบันการศึกษา และความสำเร็จในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชน จังหวัดสระบุรี จำแนกตามอายุของนักศึกษา โดยการทดสอบแบบ t-test พบว่าอายุที่แตกต่างกัน มีระดับของอุปสรรค ด้านผู้เรียน ด้านสอน ด้านสถาบันการศึกษา และด้านความสำเร็จที่ไม่แตกต่างกัน ดังแสดงในตารางที่ 5

ตารางที่ 5 เปรียบเทียบระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านสถาบันการศึกษา และด้านความสำเร็จในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล จำแนกตามอายุ
เพศหญิง (n=81) เพศชาย (n=11) t p
¯X S.D. ¯X S.D.
ด้านผู้เรียน 3.71 .34 3.55 .71 1.96 .42
ด้านผู้สอน 3.00 .54 2.98 .86 2.24 .97
ด้านสถาบันการศึกษา 3.20 .25 3.21 .76 4.19 .57
ด้านความสำเร็จ 3.87 .19 4.04 .37 1.22 .18

3.3 ระดับการศึกษา
จากการศึกษาระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านสถาบันการศึกษา และด้านความสำเร็จในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชน จังหวัดสระบุรี จำแนกตามระดับการศึกษาของนักศึกษา โดยการทดสอบแบบความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) พบว่าระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อระดับการรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 แต่มีผลต่อทัศนคติ ค่านิยมและความตั้งใจซื้อแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ดังแสดงในตารางที่ 6
ตารางที่ 6 เปรียบเทียบระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านสถาบันการศึกษา และความสำเร็จในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชน จังหวัดสระบุรีจำแนกตามระดับการศึกษา
แหล่งของความแปรปรวน S.S. df M.S. F P
ด้านผู้เรียน
ระหว่างกลุ่ม 6.22 5 1.24 2.79 .02*
ภายในกลุ่ม 38.35 86 .44
รวม 44.58 91
ด้านผู้สอน
ระหว่างกลุ่ม 9.30 5 1.86 2.79 .02*
ภายในกลุ่ม 57.24 86 .66
รวม 66.54 91
ด้านสถาบันการศึกษา
ระหว่างกลุ่ม 1.94 5 .389 .685 .636
ภายในกลุ่ม 48.8 86 .568
รวม 50.78 91
ด้านความสำเร็จ
ระหว่างกลุ่ม .691 5 .138 .987 .431
ภายในกลุ่ม 12.03 86 .140
รวม 12.72 91

เมื่อนำค่าเฉลี่ยของระดับอุปสรรคด้านผู้เรียนในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลที่แตกต่างกันมาทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้วิธี LSD พบว่าค่าเฉลี่ยของนักศึกษาที่มีผลการเรียนเกรด A มีระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียนแตกต่างจากนักศึกษาที่มีผลการเรียนเกรด C+ C และ D+ และ D อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 หมายความว่านักศึกษาที่มีผลการเรียนเกรด A มีระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียนอยู่ในระดับต่ำกว่า (¯X = 3.51) นักศึกษาที่มีผลการเรียนในระดับ C+ C และ D+ หรือ( ¯X = 3.98, ¯X = 4.26, ¯X = 4.68 ตามลำดับ) ส่วนนักศึกษาที่มีผลการเรียนเกรด B+ และ B มีระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียนแตกต่างจากนักศึกษาที่มีผลการเรียนเกรด D+ และ D อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 หมายความว่านักศึกษาที่มีผลการเรียนเกรด B+ และ B มีระดับของอุปสรรคด้านผู้เรียนอยู่ในระดับต่ำ
กว่า( ¯X = 3.8, ¯X = 3.91) นักศึกษาที่มีผลการเรียนในระดับD+ หรือ D (¯X = 4.68)ดังแสดงในตารางที่ 7

ตารางที่ 7 การทดสอบความแตกต่างของผลการเรียนกับอุปสรรคด้านผู้เรียนในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล
เกรด ¯X A B+ B C+ C D+ และ D
A 3.51 - -.34 -.38 -.51* -.58* -.99*
B+ 3.83 - - -.04 -.18 -.24 .-65*
B 3.91 - - - -.13 -.20 -.61*
C+ 3.98 - - - - -.06 -.47
C 4.26 - - - - - -.41
D+ และ D 4.68 - - - - - -

เมื่อนำค่าเฉลี่ยของระดับอุปสรรคด้านผู้สอนในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลที่แตกต่างกันมาทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้วิธี LSD พบว่าค่าเฉลี่ยของนักศึกษาที่มีผลการเรียนเกรด A มีระดับของอุปสรรคด้านผู้สอนแตกต่างจากนักศึกษาที่มีผลการเรียนเกรดB+,C+, D+ และ D อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05หมายความว่า นักศึกษาที่มีผลการเรียนเกรด A มีระดับของอุปสรรคด้านผู้สอนอยู่ในระดับต่ำกว่า (¯X = 2.95) นักศึกษาที่มีผลการเรียนในระดับ B+,C+, D+ และ D (¯X = 3.41, ¯X = 3.69, ¯X = 4.17) ตามลำดับ ดังแสดงในตารางที่ 8

ตารางที่ 8 การทดสอบความแตกต่างของผลการเรียนกับอุปสรรคด้านผู้สอนในการใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล
เกรด ¯X A B+ B C+ C D+ และ D
A 2.95 - -.52* -.42 -.80* -.39 -1.10*
B+ 3.41 - - .10 -.28 .12 .-59
B 3.37 - - - -.38 .03 -.68
C+ 3.69 - - - - .41 -.30
C 3.46 - - - - - -.71
D+ และ D 4.17 - - - - - -

อภิปรายผล
ประโยชน์ของการทำวิจัยนี้
นำผลวิจัยไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนและพัฒนาการเรียนการสอนการสื่อสารภาษาอังกฤษให้นักศึกษาพยาบาลในมหาวิทยาลัยต่อไป
นำผลวิจัยที่ค้นพบเป็นแนวทางในการลดอุปสรรคที่มีต่อการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพที่เกี่ยวข้องต่อไป
นำผลการวิจัยไปต่อยอดในการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพต่อไป

เอกสารอ้างอิง(Reference)
Asian Economic Community. (2018). Asian Economic Community Progress and Issues. Retrieved May 2, 2019, from www.thai-aec.com
Wikipedia. (2018). EF English Proficiency Index. Retrieved May 2, 2019, from https://en.wikipedia.org/wiki/EF_English_Proficiency_Index
ประคอง กรรณสูตร. (2542). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฎฐนรี ฤทธิรัตน์. (2556). ความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษและปัญหาในการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,สงขลา) สืบค้นจาก http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/9696/1/391116.pdf
สุภลักษณ์ ธานีรัตน์ กมลรัตน์ เทอร์เนอร์และสุจิตรา วิเชียรรัตน์ (2553) การติดตามสมรรถนะทางการพยาบาลของผู้สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2547 จากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนนทบุรี (รายงานผลการวิจัย). นนทบุรี:วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี
Translation - English
The Comparing of Demographic Profile with Obstacles and Successfulness of Using English for Communication Skills in the Nursing Profession of Nursing Students in Private University, Saraburi

Poomarin Intachai1, Hathaichanok Chanthawimon2
1,2Mission Faculty of Nursing, Asia-Pacific International University
, Muaklek, Saraburi, Thailand
[email protected]

Introduction: At present, with the ASEAN community in Thailand, a nursing professional field is requiring more English communication at work, and with others in this 21st century. The English communication skills are important to ensure the smooth and successful achievement at work of their profession.

Methods: The objectives of this study were 1). to study the level of obstacle and success in English communication of nursing students at private university, Saraburi 2) to compare the difference of the obstacles and success in using English skills for communication of nursing students at private university, Saraburi divide by demographic profile. The purposive sampling group was a cohort of ninety-two nursing students at private university, Saraburi who passed the “English for nursing communication” course in the academic year 2018. The tool was adapted from the relevant literature review. The statistical analysis was t-test and One-Way ANOVA. The three sections; general information, the obstacles in using English for communication which was further branched into the learners, the instructors and the institution, and the success in using English for communication and was tested for the content validity and the reliability. The Alpha-reliability Coefficient obtained was 0.90

Result: The study found that the obstacles to the learners were high, while both the instructors and institution were at a moderate level. The successfulness in using English for communication was high. The different genders and ages have no obstacles and success different. However, the different grades have a different level of both obstacles in learner and instructors at significant level of 0.05 but not different in obstacle of institution and success.

Discussion: Therefore, instructors should encourage and increase the motivation to study English communication for the learners. In the 21st century, there are many opportunities to practice using English for communication in everyday life which help increase confidence in using English for Communication in the nursing profession. Moreover, using English for communication increases the nursing students’ self-confidence and their opportunities in the professional field of nursing.

Keywords: Obstacles, success, English for Communication skills, Nursing profession, Nursing students
Introduction
According to the 2018 annual report on the ranking of the English Language Skills or Education Frist (EF), headquartered in Switzerland, Thailand is ranked 64 out of 88 countries around the world that do not use English as the main language and scored only 48.54 out of 100 points. When compared in ASEAN countries, Thailand ranks 6th out of 8 countries in ASEAN. The National Education Act of 1999 proposed the reform of teaching and learning with emphasis on the use of English in communication which is known as Communicative language teaching in which learning English in Thailand focused more on accuracy and memory than communication causing most Thai students to be unable to communicate in English effectively (Wikipedia, 2018). In 2015, Thailand has jointly signed with various countries in Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) to open a free trade area in the region, including the free movement of labor in 8 fields, including doctors, dentists, nurses, engineers, architects, accountants, surveyors, and the tourism industry. This was challenging because each country has different educational standards (Asian Economic Community, 2018). From the competition, it is seen that students in Thailand are still disadvantaged because their English skills are inferior to those who are from other countries.
According to the study of Natnari Riitthirat (2013), it is found that the English speaking ability of students in Nursing, Engineering, and Accounting is still at a level that needs improvement. Most of the students did not answer the questions correctly, had wrong pronunciation and wrong grammar (Natanari Ritthirat, 2013). In addition, from the research report of Suphalak Thanirat, Kamonrat Turner and Suchitra Wichianrat (2010) which studied and did the follow-up of English speaking competency of newly graduated nurses from Boromarajonani College found that the English language proficiency is the lowest when compared to other competencies (Suphalak Thanirat et al., 2010). Therefore, the students at tertiary level of education in Thailand, especially the 8 fields mentioned above need to develop the English communication skills to be able to compete with neighboring countries in ASEAN.
In the past, the Faculty of Nursing students have studied English in five courses (three are general courses and two are English courses for the nursing profession) but most students still do not dare to use English for communication and are afraid of communicating with others; both foreigners and Thais in English. Therefore, the research team is interested to study the comparison of personal obstacles and successfulness in using English for professional communication of nursing students at Private university, Saraburi. Nursing is a profession that requires English language communication in this 21st century for working, and more importantly it’s the kind of works that deal with human life. Therefore, English communication skills are important today with the coming ASEAN Community. The results of the study will provide guidance in planning and development of teaching and learning to enable students to successfully use English skills for professional communication.

Objective and Hypothesis
Objectives
1. To study the level of obstacles and the successfulness in various aspects in using English for communication of nursing students at Private university, Saraburi
2. To compare the differences of obstacles and successfulness in using English language skills for communication in nursing professions of nursing students at Private university, Saraburi classified by personal factors
Hypothesis
1. Differences in gender, age and academic performance of nursing students at Private university, Saraburi, have different kinds of obstacles and successfulness in using English for communication.
Method
It’s a descriptive and surveys research. The population to be used in this study is the nursing students who have studied English for Nursing Communication in 2018 academic year. Ninety-two students were selected by using 100% purposive sampling. The research is carried out at Private University, Saraburi.
As for the ethics in research to protect the rights and confidentiality of the participants, the researcher has requested approval for human research ethics from the Research Ethics Committee of the Asia-Pacific International University. The participants are informed of the research objectives and to make independent decisions about joining the research. The participants have the opportunity to ask questions about the research and the participation until they understand and can cancel the participation at any time without specifying reasons. This will not have any effect on the sample. As there is no use of name or student identification code of the participants, the results of the research will be presented in general for academic use only.
The tool has been adapted from relevant literature reviews. The questionnaire has 3 parts as follows
Part 1 General information
Part 2 Obstacles in using English for communication, consisting of 15 items divided into the learners, the teachers, and the educational institutions. The answer is in 5 rating scale.
Part 3 The successfulness of using English for communication, consisting of 12 items. The answer is in 5 rating scale.
The division of the scores for the mean in the question section is divided into 5 parts of scoring (Prakong Kannathanasut, 1999) with the criteria.
The interpretation of the scores according to Table 1 is as follows:
Table 1: Level of decision
Score Range Meaning
4.21 - 5.00 Highest
3.41 - 4.20 High
2.61 - 3.40 Moderate
1.81 - 2.60 Low
1.00 – 1.80 Lowest

Methods of Preparation and Data Collection
The testing of the content validity of the tool or questionnaires which the researcher adapted from reviewing related literature is brought to three experts to check the content validity, consistency of content, the language, and the message. After that, the questionnaires are brought to CVI and adjustments are made as recommended by the experts (Content reliability test). The questionnaire was tested with a group of 30 students who have a similar qualification, majoring in English, Thai program that has studied the course, ‘English for communication’ in order to find the Alpha-reliability Coefficient. All the thirty sets and the overview of the questionnaire must not have value less than 0.7. Then the collection of data is commenced when all the questionnaire is completed. The analysis of data by Descriptive statistics which includes frequency analysis, percentage, mean, standard deviation, t-test and differentiation analysis with One-Way ANOVA.

Result and Discussion
The research results are shown in the following table.
Table 2: Demographic profile
Demographic profile N %
Sex
Female 81 88.0
Male 11 12.0
Age
18 – 19 years 4 4.34
20 years and above 88 95.6
School record
A 20 21.7
B+ 20 21.7
B 16 17.2
C 18 19.5
D+ and D 7 7.6

From Table 2, it is found that there are 12% males and 88% females and 4.34% are of 18-19 years old and 95.6% are of 20 years or older. Most of them were in grade A and B + at the same level of 21.7% and those with the lowest grade point average in English were D + which is lower than 7.6%. The ability to communicate at a medium level was the highest with 48.9 % and those with a very good level of English communication with the least percentage which is 3.3%.

Table 3 Obstacles and successfulness in using English for communication
Mean S.D. Level
Student 3.55 .699 High
Instructor 2.98 .855 Moderate
Institution 3.20 .747 Moderate
English language success 4.03 .374 High

From Table 3 Obstacles in using English for communication in learners, it is found that the learners have their own obstacles in their use of English for communication at a high level (x ̅ = 3.55) in which the obstacle encountered are in the topic of the readings or stories, about using the wrong grammar, nervous and shy when communicating in English, unclear pronunciation causing the conversation difficult to understand, taking time to think in Thai first and then translating it into English in communication and lacking the support and motivation to learn English for communication. Regarding the obstacles from the instructors and educational institutions, it is found that they are at the medium level (x ̅ = 2.98 and 3.20 respectively). The successfulness of using English for communication is at a high level (x ̅ = 4.03). It is found that the topic of English communication skills helps the students to express themselves, assists in future professions, is a skill that can be practiced and learned easily, helps increase career opportunities, is beneficial to oneself and those around and helps develop the country.

1. The comparison of the level of obstacles and the successfulness in learners, instructors, and educational institutions classified by personal factors
1.1 Gender
From the study of the level of obstacles and successfulness in the aspect of learners, instructors, and educational institutions in using English language skills for communication in nursing professions of the nursing students at Private University, Saraburi classified by the gender of students using t-test found that different gender have similar levels of obstacles and successfulness in learners, instructors, and the educational institutions as shown in Table 4.

Table 4 Comparison of the level of obstacles and successfulness in terms of learners, instructors, and educational institutions in using English language skills for communication in nursing professions of the nursing students classified by gender

Female (n=81) Male (n=11) t p
¯X S.D. ¯X S.D.
Students 3.59 .69 3.34 .78 .037 .34
Instructors 2.99 .86 3.00 .88 .036 .97
Institutions 3.20 .76 3.25 .71 .273 .84
Successfulness 4.01 .35 4.25 .50 .294 .15

1.2 Age
From the study of the level of obstacles and successfulness in the aspect of learners, instructors, and educational institutions in using English language skills for communication in nursing professions of the nursing students at Private university, Saraburi classified by the age of the students using the t-test found that the age difference makes no difference in the levels of obstacles and the successfulness in the learners, the instructors, and the educational institutions as shown in Table 5

Table 5 Comparison of the level of obstacles and the successfulness in learners, instructors, and educational institutions in using English language skills for communication in nursing professions of the nursing students classified by age

Female (n=81) Male (n=11) t p
¯X S.D. ¯X S.D.
Students 3.71 .34 3.55 .71 1.96 .42
Instructors 3.00 .54 2.98 .86 2.24 .97
Institutions 3.20 .25 3.21 .76 4.19 .57
Successfulness 3.87 .19 4.04 .37 1.22 .18

Education Level 3.3
From the study of the level of obstacles and the successfulness in the aspect of the learners, the instructors, and the educational institutions of using English language skills for communication in nursing professions of the nursing students at Private university, Saraburi classified by student's education level by using One-way ANOVA, it showed that the different levels of education makes no difference to the level of obstacles and the successfulness at a statistical significance of 0.05, but it has an effect on the attitude, the values and the intentions at the statistical significance of 0.05 as shown in Table 6.
Table 6 compares the level of obstacles and successfulness in learners, instructors, and educational institutions in using English language skills for communication in nursing professions of the nursing students at Private university, Saraburi classified by education level

Source of variation S.S. df M.S. F P
Students
Between the groups 6.22 5 1.24 2.79 .02*
Within the groups 38.35 86 .44
Combined 44.58 91
Instructors
Between the groups 9.30 5 1.86 2.79 .02*
Within the groups 57.24 86 .66
Combined 66.54 91
Institutions
Between the groups 1.94 5 .389 .685 .636
Within the groups 48.8 86 .568
Combined 50.78 91
Successfulness
Between the groups .691 5 .138 .987 .431
Within the groups 12.03 86 .140
Combined 12.72 91

When taking the mean level of the obstacle of learners in using English communication skills in nursing profession of different nursing students to test the differences in pairs by using LSD method, it was found that the mean scores of students with Grade A learning has a different level of obstacles than students with grades C + C and D + and D with statistical significance of 0.05. This means that students with grade A has lower levels of obstacles (x ̅ = 3.51), than the students with grades C + C and D + or D (x ̅ = 3.98, x ̅ = 4.26, x ̅ = 4.68 respectively). For students with grades B + and B, there are significantly different levels of obstacles to students with grades D + and D with statistical significance of 0.05. This means that students with grades B + and B have a lower level of obstacles (x ̅ = 3.8, x ̅ = 3.91) than students with grades D + or D (x ̅ = 4.68) as shown in Table 7.

Table 7 Testing of differences in academic performance and learners' obstacles to using English language skills for communication in nursing professions of the nursing students.

Grade ¯X A B+ B C+ C D+ and D
A 3.51 - -.34 -.38 -.51* -.58* -.99*
B+ 3.83 - - -.04 -.18 -.24 .-65*
B 3.91 - - - -.13 -.20 -.61*
C+ 3.98 - - - - -.06 -.47
C 4.26 - - - - - -.41
D+ and D 4.68 - - - - - -

When taking the mean level of instructional obstacles or challenges of using English communication skills in nursing profession of different nursing students to test the differences in pairs by using LSD method, it was found that the mean scores of students with Grade A learning has a different level of instructional obstacles or challenges than students with grades B +, C +, D + and D with statistically significant of 0.05. Students with grade A had lower levels of instructional challenges (x ̅ = 2.95) than students with grades B +, C +, D + and D (x ̅ = 3.41, x ̅ = 3.69, x ̅ = 4.17) respectively as shown in Table 8.

Table 8 Testing of the difference in learning outcomes and the instructional challenges in using English language skills for communication in the nursing profession of the nursing students.

Grade ¯X A B+ B C+ C D+ and D
A 2.95 - -.52* -.42 -.80* -.39 -1.10*
B+ 3.41 - - .10 -.28 .12 .-59
B 3.37 - - - -.38 .03 -.68
C+ 3.69 - - - - .41 -.30
C 3.46 - - - - - -.71
D+ and D 4.17 - - - - - -

Discussions
The benefits of doing this research are
1. Applying the research results as a guideline for the planning and development of teaching and learning English language skills for communication for nursing students in the university.
2. Bringing the findings that are found as a way to reduce obstacles to the use of English for communication in related professions.
3. Bringing the research results for further study of related research in using English for professional communication.

Reference
Asian Economic Community. (2018). Asian Economic Community Progress and Issues. Retrieved May 2, 2019, from www.thai-aec.com
Wikipedia. (2018). EF English Proficiency Index. Retrieved May 2, 2019, from https://en.wikipedia.org/wiki/EF_English_Proficiency_Index
Prakong Kanasut (1999). Statistics for Behavioral Science Research. 3rd edition. Bangkok: Publisher of Chulalongkorn University.
Natthanaree Rittirat (2013). English speaking ability and problems in developing English speaking skills of Thai university students (Master's Degree Thesis, Songkhla) Retrieved from http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/9696/1/391116.pdf
Suphalak Thanirat, Kamonrat Turner and Suchitra Wichianrat (2010) Monitoring of Nursing Competency of Graduates of Academic Year 2004 from Boromarajonani College of Nursing, Nonthaburi (Research Report). Nonthaburi: Boromarajonani College of Nursing




Translation education Bachelor's degree - Asia Pacific International University
Experience Years of experience: 5. Registered at ProZ.com: Mar 2020. Became a member: Apr 2024.
ProZ.com Certified PRO certificate(s) N/A
Credentials N/A
Memberships N/A
Software N/A
Bio
I love teaching and translating because that's where I learn. 
Keywords: Educate


Profile last updated
Apr 16



More translators and interpreters: English to Karen - Karen to English - Thai to English   More language pairs